GNU GPL
=========
หากเรานำ source code ไปทำการแก้ไข หรือ เขียนโปรแกรมขึ้นมาใหม่เพื่อให้เรียกใช้ function หรือ class หรือ library หรืออะไรก็แล้วแต่จาก source code ตัวนั้น โปรแกรมใหม่ที่เราทำขึ้นก็จะต้องมี license เป็น GPL ตามไปด้วย
ตัวอย่างของ GNU GPL คือ Linux
ดิสทริบิวชั่นต่างๆของลีนักซ์จะต้องเป็นของฟรี บริษัทหรือนักพัฒนาสามารถตั้งราคาสำหรับลีนักซ์ที่เป็นดิสทริบิวชั่นของตัวเองได้
กล่าวคือเมื่อนำซอร์สโค้ดของลีนักซ์ดิสทริบิวชั่นใดๆมาปรับปรุงแก้ไขให้กลายเป็นดิสทริบิวชั่นของตัวเองแล้ว อาจวางจำหน่ายลีนักซ์ดิสทริบิวชั่นใหม่ได้
แต่ต้องให้ซอร์สโค้ดไปด้วย
General Public License ไม่เปิดโอกาสให้นำโปรแกรมของคุณเข้าไปใช้ใน proprietary software.
เสรีภาพที่จะเผยแพร่สำเนาของซอฟต์แวร์เสรี (และคิดราคาสำหรับการจัดจำหน่ายในกรณีที่คุณต้องการ)
สามารถที่จะได้ source code มาในกรณีที่คุณต้องการ
สามารถแก้ไขหรือใช้ส่วนประกอบของซอฟต์แวร์นั้นในซอฟต์แวร์เสรีโปรแกรมใหม่
ในแต่ละครั้งที่คุณเผยแพร่โปรแกรม (หรืองานที่มีพื้นฐานจากโปรแกรม) ต่อไป ผู้รับจะได้รับอนุญาตโดยอัตโนมัติจากเจ้าของสิทธิให้สามารถที่จะทำซ้ำ เผยแพร่ หรือดัดแปลงโปรแกรม ภายใต้ข้อกำหนดและเงื่อนไขของสัญญานี้. คุณไม่สามารถวางข้อจำกัดเพิ่มเติมต่อการใช้สิทธิของผู้รับที่ได้มอบไปตามนี้
http://linux.sut.ac.th/download/SUTLinux/SUTinsFEC5308/gpl_thai.html
#กรณีศึกษา
D-Link (เอา GPL ไปใช้แล้ว ไม่แจ้ง + ปกปิด src) > http://www.blognone.com/node/3024
Monsoon > http://www.blognone.com/node/5880
สัญญาอนุญาตรุ่น 3 ส่งผลให้มีเหตุการณ์ขัดแย้งระหว่าง ลีนุส ทอร์วัลส์ผู้คิดค้นระบบลินุกซ์ และ ริชาร์ด สตอลแมนผู้เริ่มต้นสัญญาอนุญาตจีพีแอล
Ref: http://th.wikipedia.org/wiki/GPL
BSD Licenses
============
source code ที่ได้ทำการแก้ไขก็ไม่จำเป็นต้องส่งกลับ
แต่ขอให้แสดงไว้ในเอกสารว่ามีส่วนของโปรแกรมที่พัฒนาต่อมาจาก source code ที่เป็น BSD License
(มันต่างอะไรกับ Apache License เนี้ย ??)
GNU LGPL (Lesser General Public License)
========================================
หากเราทำการเขียนโปรแกรมขึ้นมาเรียกใช้ function หรือ class หรือ library หรืออะไรก็แล้วแต่จาก source code ที่เป็น LGPL
โปรแกรมใหม่ที่เราพัฒนาขึ้นไม่จำเป็นต้องเป็น LGPL
แต่ส่วนของ source code ชุดเดิมก็ยังคงเป็น LGPL อยู่
สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปแบบผ่อนปรนของกนู
ใช้สำหรับไลบรารีซอฟต์แวร์
Ref: http://th.wikipedia.org/wiki/GPL
GNU LGPL (Library General Public License)
==========================================
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ไลบราลีที่มีลิขสิทธิ์แบบนี้จะมีผลทำให้ซอฟต์แวร์ นั้นมีลักษณะเป็น Free Software ไปด้วย
Ref: http://www.value.co.th/th/service/articles/FSF.htm
Apache Software License
========================
ให้แสดงในเอกสารว่าเราได้ใช้ source code หรือ library ที่เป็น Apache License
ส่วนโปรแกรมที่เราพัฒนาขึ้นมาใหม่จะใช้ license แบบไหนก็ได้
Creative Commons
================
1. แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน
2.
จุดที่ถกเถียงกันของ Open Source Initiative (OSI) กับ Free Software Foundation
=========================================================================
คือ ฝ่าย OSI นั้นถกเถียงอยู่ในกรอบของ Collaboration
ในขณะที่ทางฝ่าย FSF กลับถกเถียงอยู่ในกรอบของปรัชญาเรื่องเสรีภาพ
Ref: http://www.value.co.th/th/service/articles/FSF.htm
Copyleft
=========
สัญญาอนุญาตกลุ่ม copyleft มอบเสรีภาพให้ทุกคนสามารถคัดลอก ดัดแปลง ปรับปรุง และจำหน่ายงานได้
โดยมีเงื่อนไขว่าต้องยังคงรักษาเสรีภาพเดียวกันนี้ในงานที่ดัดแปลงแก้ไขมาจากงานดังกล่าว
http://www.sunnahstudent.com/forum/archive.php?topic=5640.0
Thanks
http://www.unzeen.com/article/1335/มารู้จักกับ-open-source-license-ในแบบต่างๆ
No comments:
Post a Comment